ในการเข้าโค้งแต่ละโค้งนั้นเทคนิคสำคัญก็คือ “ไลน์” ในการเข้าโค้งแต่ละโค้งนั้นเทคนิคสำคัญก็คือ “ไลน์” หรือทางวิ่งที่เหมาะสมในการเข้าโค้ง ซึ่งสำคัญมาก ต่อเนื่องจากการเข้าโค้งอย่างปลอดภัย ที่มีหลักสำคัญอยู่ 3 ประการคือ ความเร็ว , การเตรียมตัวก่อนเข้าโค้ง (เบาเครื่อง , เบรก , เปลี่ยนเกียร์ และการใช้สายตามองตามโค้งคาดคะเนระยะทางการใช้ความเร็ว ท่าทางในโค้ง และการตัดสินใจ ซึ่งสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันโดยตลอด ควรลดความเร็วให้อยู่ในระดับที่สามารถควบคุมได้ตั้งแต่ก่อนเข้าโค้ง เบรค เปลี่ยนเกียร์ ถ้าไม่เทพ หรือมีทักษะดีจริง ต้องทำตอนรถตั้งตรง เตรียมตัวก่อนเข้าโค้ง และที่สำคัญมากๆที่อย่าลืมคือข้อห้าม ในโค้ง อย่าใช้เบรค หรือบีบคลัทช์ ) ยิ่งถ้าเจอถนน 2 เลน สวนกันแล้วมาผิด “ไลน์” โอกาสหลุด....บาน โค้ง ข้าม เลน มีสูงมาก ลองดูจาก คลิป ว่าที่เข้าโค้งกันมา ก่อนหน้าถูกต้อง...? ถ้ายิ่งเป็น ถนน 2 เลน รถสวนกันตามต่าง ตจว. ที่มีต้นไม้ ภูเขา บังสายตา การหลุดโค้งข้ามเลน จนมีโอกาสชน ประสานงา กับรถเลนสวน...มามีสูง ถ้าทางโค้งของถนนที่เป็นเขา มองไม่เห็นโค้ง และรถข้างหน้า ยิ่งเสี่ยง มาผิด “ไลน์” พลาดถึง....จบการเดินทาง....มาก็เยอะ จากแนวทางการเข้าโค้งที่ถูกหลักและปลอดภัย ทั้งตัวเราและผู้ร่วมใช้ทาง อย่างเช่นถนนโค้งทางภาคเหนือ มองไม่เห็นโค้ง และรถข้างหน้า ยิ่งเสี่ยง ถ้ามาผิด “ไลน์” พลาดถึง....จบ....ลองดูการเข้าโค้งที่ถูกต้อง กันครับ http://www.youtube.com/watch?v=KVWLIfChUwghttp://www.youtube.com/watch?v=_pocXYyHCuwhttp://www.youtube.com/watch?v=_pocXYyHCuwhttp://www.youtube.com/watch?v=DWgb0MtgNlo&ebc=ANyPxKr7LHeA_G4r2F3IR7knu3bHKTT0KB-fxEQO24_tGJ8BnvmYmq9VFfeyvGbxsWMbrICbPE0NoXoDhueP8DjHu8sdqg3ZeQอุบัติเหตุส่วนใหญ่ของมอเตอร์ไซค์ ก็มาจากการเข้าโค้งที่ไม่ถูกต้อง ทั้งความเร็ว , การเตรียมตัวก่อนเข้าโค้ง (เบาเครื่อง , เบรก , เปลี่ยนเกียร์ และท่าทาง การใช้สายตา การคาดคะเนระยะทางของโค้ง การใช้ความเร็ว และการตัดสินใจ จึงต้องมีการกำหนด “ไลน์” ของโค้งก่อนเสมอ ซึ่งวิธีกำหนดไลน์ที่นิยมและได้ผลดีที่สุดก็คือ ไลน์ out-in-out สมมติว่าเราเข้าโค้งด้านซ้ายเราจะชิดขวาก่อนเข้าโค้งค่อยๆเอียงรถเข้าด้านในโค้ง และเร่งออกจากโค้งช้าๆ ทั้งนี้ผู้ขับขี่จะต้องใช้ความเร็วที่เหมาะสมตลอดจนสังเกตความกว้าง , แคบของโค้ง เพื่อใช้ท่าทางให้เหมาะกับความเร็วที่จะสามารถเข้าโค้งได้อย่างราบรื่นสม่ำเสมอ เพราะถึงแม้ว่าจะมีความชำนาญมากแต่ถ้าใช้ความเร็วสูงเกินไปและกำหนด“ไลน์” ของโค้งผิดพลาดจะก็จะทำให้เกิดอันตรายได้ง่าย


เป็นแนวทาง...การเข้าโค้ง...ปฏิบัติให้..ถูกต้อง...เพื่อความปลอดภัย....กันครับ
ศีกษาและลองทำความเข้าใจ จะช่วยในการเข้าโค้งได้....ง่ายขึ้น และปลอดภัยมากขึ้น
http://www.youtube.com/watch?v=uZEX12ZIM1w&ebc=ANyPxKqFqi0V_m157ynv4pZSmNXQJSxu1Gul8hfO0GWIQqkh8ep2JX4YQb8KNkvUyJstVN83BLHCUs2CCWXukMjgYg97Bj9x7A[/url
ท่าทางในการควบคุมรถในการขับขี่เวลาเข้าโค้งด้วยความเร็วต่างๆกัน
เพื่อให้สามารถควบคุมรถอยู่ได้ แต่ทั้งนี้ ก็ไม่ได้ถือว่าปลอดภัยไปทั้งหมด เพราะต้องเรียนรู้
ท่าทางในการควบคุมรถในการขับขี่เวลาเข้าโค้งด้วยความเร็วต่างๆกัน
เนื่องจากท่าทางการขับขี่ขณะเข้าโค้งนั้นมีอยู่ด้วยกันหลายแบบ แต่ละแบบให้ความปลอดภัยและมีจุดเด่นจุดด้อยต่างกัน โดยจะแบ่งตามลักษณะท่านั่งของผู้ขับขี่ที่เป็นส่วนสำคัญในการบังคับควมคุมรถแบ่งออกเป็น 4 แบบคือ
1. แบบ Lean-out การเข้าโค้งแบบนี้ผู้ขับขี่จะถ่วงน้ำหนักตัวค่อนไปทางด้านนอกโค้ง โดย
ตัวรถจะเอียงเข้าไปด้านในโค้งเล็กน้อย ซึ่งจะเหมาะสำหรับสภาพผิวทางโค้งที่ลื่นไถลได้ง่าย การเข้าโค้งในลักษณะ Lean-out จึงพบมากในการขับขี่รถมอเตอร์ไซค์วิบาก
เนื่องจากสามารถควบคุมรถแม้เมื่อเกิดการลื่นไถลได้ดี
2. แบบ Lean-with การเข้าโค้งแบบนี้ผู้ขับขี่จะเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับตัวรถ กล่าวคือทั้งรถและผู้ขับขี่จะเอียงไปเท่าๆกัน ซึ่งเหมาะสำหรับ
การใช้งานปกติเพราะผู้ขับขี่สามารถเปลี่ยนทิศทางและควบคุมรถได้ง่าย มือและเท้ายังคงทำงานได้อย่างสะดวก เป็นท่าทางการเข้าโค้งแบบมาตรฐานของการขับขี่แบบปลอดภัยในชีวิตประจำวัน
3. แบบ Lean-in การเข้าโค้งแบบนี้ผู้ขับขี่จะถ่วงน้ำหนักไปทางด้านในโค้งโดยเอียงมากกว่าตัวรถเล็กน้อย เหมาะสำหรับการเข้าโค้งที่ต้องการความเร็วและมั่นใจในการยึดเกาะของรถได้ การเข้าโค้งแบบนี้จะให้ความคล่องตัวในการบังคับควบคุมน้อยกว่าแบบ Lean-with
4. แบบ Hang-on การเข้าโค้งแบบนี้ผู้ขับขี่จะถ่วงน้ำหนักตัวไปด้านในโค้งมากจนอยู่ในลักษณะโหนรถ เพื่อเอาชนะแรงเหวี่ยงมากๆจากการเข้าโค้งด้วยความเร็วสูง การเข้าโค้งแบบนี้ผู้ขับขี่จะสามารถควบคุมรถได้ยากไม่เหมาะเป็นอย่างยิ่งสำหรับการใช้งานปกติส่วนมากแล้วจะใช้เฉพาะในสนามแข่งทางเรียบเท่านั้น
จากท่าทางการเข้าโค้ง 4 แบบที่กล่าวมา เราจะพบว่าการขับขี่เข้าโค้งแบบ Lean-with เป็นท่าที่เหมาะสมและให้ความปลอดภัยมากที่สุด ตลอดจนเป็นท่าทางที่ต่อเนื่องมาจากท่าทางการขับขี่ปกติ ผู้ขับขี่จึงไม่จำเป็นต้องเปลี่ยนท่าก่อนหรือในขณะเข้าโค้ง กล่าวคือ เท้าทั้งสองอยู่บนพักเท้า หัวเข่าแนบกระชับถังน้ำมัน
แต่ที่แตกต่างออกไปก็คือจากที่รถอยู่ในลักษณะตั้งตรงมาอยู่ในลักษณะเอียงและที่สำคัญก็คือไม่ว่าจะเอียงมากน้อยแค่ไหน ศีรษะจะต้องตั้งตรงเท่านั้น การที่ศีรษะตั้งตรงนี้ทำให้เราสามารถอ่านเหตุการณ์ข้างหน้าและรักษาสมดุลของร่างกายกับตัวรถได้
ในการเข้าโค้งแต่ละโค้งนั้นเทคนิคสำคัญก็คือ “ไลน์” [/color]หรือทางวิ่งที่เหมาะสมเพื่อให้รัศมีของการเข้าโค้งกว้างขึ้น จึงต้องมีการกำหนด “ไลน์” ของโค้งก่อนเสมอ ซึ่งวิธีกำหนดไลน์ที่นิยมและได้ผลดีที่สุดก็คือ ไลน์out-in-out กล่าวคือสมมติเราเข้าโค้งด้านซ้ายเราจะชิดขวาก่อนเข้าโค้งค่อยๆเอียงรถเข้าด้านในโค้ง และเร่งออกจากโค้งช้าๆ ทั้งนี้ผู้ขับขี่จะต้องใช้ความเร็วที่เหมาะสมตลอดจนสังเกตความกว้าง , แคบของโค้งจึงจะสามารถเข้าโค้งได้อย่างราบรื่นสม่ำเสมอ เพราะถึงแม้ว่าจะมีความชำนาญมากแต่ถ้าใช้ความเร็วสูงเกินไปก็จะทำให้เกิดอันตรายได้ง่าย
การเข้าโค้งอย่างปลอดภัย มีองค์ประกอบหลักสำคัญอยู่ 3 ประการคือ ความเร็ว , การเตรียมตัวก่อนเข้าโค้ง (เบาเครื่อง , เบรก , เปลี่ยนเกียร์ และการใช้สายตา) ประการสุดท้ายก็คือ การเร่งเครื่องออกจากโค้ง ซึ่งสรุปเทคนิคการเข้าโค้งโดยย่อได้เป็นขั้นตอนดังนี้
1.ลดความเร็วให้เหมาะสมตั้งแต่อยู่ในทางตรงก่อนเข้าโค้ง ถ้าเป็นโค้งที่ไม่เคยผ่านมาก่อนต้องลดความเร็วมากเพื่อความปลอดภัย (ยิ่งเร็วก็ต้องยิ่งเอียงรถมากด้วย)
2.ใช้สายตามองเข้าไปในโค้งเพื่อดูสภาพผิวทางให้แน่ใจก่อนที่จะเอียงรถเข้าไป
3.เมื่อเอียงรถเข้าไปแล้วพยายามรักษาลักษณะท่านั่งและความสมดุลของแรงเหวี่ยงเอาไว้ และใช้คันเร่งช่วยเบาๆเมื่อทำท่าจะเสียสมดุลพับลงในโค้ง (แสดงว่าใช้ความเร็วน้อยไป) สายตามองไกลออกจากโค้งอย่าก้มหน้ามองอยู่ในโค้งหรือหน้ารถ อย่าเกร็งหรือปล่อยตัวตามสบายจนเกินไปเพราะจะทำให้การบังคับควบคุมไม่ดีพอ อาจจะแหกโค้ง หรือเสียการทรงตัวอยู่ในโค้ง
4.เมื่อกำลังจะผ่านโค้งหรือมองเห็นทางข้างหน้าแล้วจึงค่อยๆเร่งเครื่องเพื่อเพิ่มความเร็วและเพื่อให้ตัวรถตั้งตรงขึ้น หลีกเลี่ยงการเร่งเครื่องยนต์รวดเร็วเพราะจะทำให้เกิดการลื่นไถลได้ง่าย และรักษาขอบเขตของความปลอดภัยในขณะเข้าโค้งอย่างสม่ำเสมอ (รู้ขีดความสามารถของตัวเองและรถ) ที่สำคัญห้ามบีบคลัทช์ขณะเข้าโค้งโดยเด็ดขาด
เทคนิคอีกอย่างในการขับขี่ที่ถูกต้องและปลอดภัย คือการคาดคะเนระยะทางการใช้ความเร็ว และการตัดสินใจ
ซึ่งทั้งสามอย่างสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันโดยตลอด
[url=http://www.z800thailand.com/go.php?url=http://upic.me/show/34690468]
นี่คือท่าทางในการควบคุมรถในการขับขี่เวลาเข้าโค้งด้วยความเร็วต่างๆกัน“ก่อนจะเทพ ก็ต้องผ่านการเรียนรู้มาก่อนทั้งนั้น”**** Countersteering ****
เทคนิค...ที่สำคัญมากๆ ในการขับขี่มอเตอร์ไซค์ Bigbike กับหลักการเลี้ยวแบบ Counter-Steering ซึ่งทุกคนควรจะทำเป็นCountersteering
http://www.youtube.com/watch?v=7eCcR4nnol0http://www.youtube.com/watch?t=23&v=C848R9xWrjcCounter Steering กับบิ๊กไบค์ เทคนิคที่จะช่วยในการควบคุมรถ การเลี้ยว การหลบหลีก และการพลิกพริ้ว ทำได้ง่ายขึ้น
*** โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้า เจอเหตุการณ์ข้างหน้าแบบฉับพลัน ทันที ทันใด วิธีนี้จะช่วยได้มาก ในการหลบหลีก และการพลิกพริ้ว หักหลบ ทำได้ง่ายขึ้น
ยิ่งกับ Bigbike cc. สูง มีขนาดใหญ่..และน้ำหนักรถเยอะ
http://www.youtube.com/watch?v=SF1ezf8LNNU**** ถ้าได้ลองฝึกและทำจนเคยชิน ยิ่งการใช้ความเร็วสูงๆ การเลี้ยว การหลบหลีก การพลิกพริ้ว และการเข้าโค้ง จะทำได้ง่ายขึ้น ขับขี่สนุก ปลอดภัย สั่งได้ดังใจ
จะช่วยในการควบคุมรถ การเลี้ยว การหลบหลีก และการพลิกพริ้ว ทำได้ง่ายขึ้น สำคัญมากๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้า เจอเหตุการณ์ข้างหน้าแบบทันทีทันใด
เทคนิควิธีนี้จะช่วยได้มากในการหลบหลีก และการพริ้ว ทำได้ง่ายขึ้น ยิ่งกับ Bigbike cc. สูง ใหญ่..และหนัก..
ที่การเลี้ยวในความเร็วสูงๆ อาจจะควบคุม....ยากกว่าแบบ Counter-Steering หรืออย่างเช่น...การขับรูปแบบ Gymkhana ***************** ถ้าได้ลอง แล้วจะติดใจ จนลืมแบบเดิมๆ ไปเลย *********************
น่าสนใจ ดีครับ ลองดู ที่เราเข้าใจกันมา ก่อนหน้า เป็นอย่างไร
สำหรับใครที่ยังมีพฤติกรรมเหล่านี้ หรือเข้าข่ายการกระทำเหล่านี้อยู่ นี่เป็นสัญญาณเตือนว่า คุณนั้นยังเป็นมือใหม่ในการขี่มอเตอร์ไซค์หรืออาจจะยังไม่รู้จักมันดี อีกทั้งมันยังเป็นพฤติกรรมที่ก่อให้เสี่ยงการเกิดอุบัติเหตุอีกด้วย มีอะไรบ้างเรามาดูกันครับ
มั่นใจในเบรกหรือ ABS มากเกินไป แต่ไม่รู้จักใช้ Engine Break และมักไม่กล้าลดเกียร์ลงเพื่อใช้ Engine break
มีความเข้าใจว่าเราเลี้ยวรถด้วยมือที่แฮนด์ (Counter Steer) เพียงอย่างเดียว ซึ่งอันที่จริงแล้ว สายตา เป็นสิ่งสำคัญในการบังคับร่างกายให้ปรับองศาแฮนด์ หัวไหล่ และ ลำตัวให้เลี้ยวตามจุดโฟกัสของสายตาอัตโนมัติ แต่การใช้สายตาล๊อคเป้าหมายต้องอยู่บนพื้นฐานความปลอดภัยไม่ควรล๊อคเป้าหมายระยะไกล โดยที่ไม่สนใจสิ่งกีดขวางด้านหน้า หรือเมื่อสติสัมปชัญญะไม่สมบูรณ์ เพราะอาจทำให้เกิดอันตรายหรือ กะระยะ รวมถึงสิ่งต่างๆผิดพลาดได้
คิดว่าการปิดคันเร่ง คือ ความปลอดภัยเสมอ และการเปิดคันเร่ง ทำให้ในอยู่สภาวะอันตรายในทุกกรณี
กำคลัทช์ ปล่อยรถไหลเข้าโค้ง ทำให้เครื่องยนต์ไม่มีแรงฉุด หรือแรงเหวี่ยงหนีศูนย์จาก Engine brake มีความเป็นไปได้สูงที่จะแหกโค้ง หรือเกิดอุบัติเหตุอื่นๆ
ซัดมาเร็วเต็มที่ แต่ดันไปเบรก ตกแต่งความเร็วในโค้ง เป็นวิธีการที่ผิดเช่นกัน เมื่อเราอยู่ในโค้งเราต้องมีความสมบูรณ์ครบถ้วนที่สุด หมายถึง ความเร็ว รอบเครื่องยนต์ ไลน์โค้ง ซึ่งต้องได้รับการตกแต่งจนเหมาะสมมาแล้วก่อนเข้าโค้ง และเมื่ออยู่กลางโค้งจึงใช้ความตึงของรอบเครื่องค่อยๆเร่งออก โดยเฉพาะมือใหม่ ไม่จำเป็นต้องเข้าให้เร็วให้แรง แต่ควรลดความเร็วให้อยู่ในระดับที่สามารถควบคุมได้ตั้งแต่ก่อนเข้าโค้ง เบรค เปลี่ยนเกียร์ ถ้าไม่เทพ หรือมีทักษะดีจริง ต้องทำตอนรถตั้งตรง ก่อนเข้าโค้ง
“ปลายทางที่เหล่า Bikers อยากทำได้ทุกคน” คิดว่าเครื่องเดินเบา ๆ ในเกียร์สูงๆ รอบต่ำๆ ดูปลอดภัยกว่า
ในเรื่องของการประหยัดน้ำมันก็ดีจริงครับ แต่มันสวนทางกับเรื่องของความปลอดภัยหลายเรื่องอย่างเช่น การใช้รอบต่ำๆในเกียร์สูงๆ หรือการใช้เกียร์สูง ในความเร็วต่ำทำให้มี Engine brake น้อยลง หรือการเร่งแซงในเวลาฉุกเฉินจะไม่ทันต่อเหตุการณ์ ยิ่งรถกำลังน้อยๆ ดังนั้นการใช้ระดับเกียร์ ให้เหมาะสมกับความเร็วก็ถือเป็นสิ่งสำคัญอีกอย่างหนึ่งที่ไม่ควรมองข้าม
คิดว่าเทคโนโลยี สนามแข่ง คือ คำตอบของทุกอย่าง เช่น เชื่อว่าใช้ยาง Pirelli แบบนักแข่ง แล้วจะไม่ล้มพับในโค้ง เชื่อว่าใช้ Brembo แล้วจะเบรกทัน เทคโนโลยีก็มีความสำคัญ แต่ทักษะของตัวผู้ขับขี่เองนั้นสำคัญที่สุด
เชื่อว่าใส่ชุดเสื้อการ์ดครบชุด หมวก Arai ตัวท็อป หรือจัดเต็ม Racing Suit ล้มแล้วจะไม่ตาย
คิดว่ากระจกมองหลัง เกะกะ ไม่สำคัญและมักจะถอดออกเพราะคิดว่าเท่ห์ อาจมีค่านิยมมาจากในสนามแข่ง ซึ่งในสนามแข่งที่ถอดออกนั้นมีสาเหตุหลายอย่างอย่างเช่น ป้องกันการเกี่ยวกันเอง หรือ ไม่ให้นักแข่งวอกแวกเสียสมาธิ และอื่นๆอีกนา.....นับประการ คิดว่าเมื่อขับมอเตอร์ไซค์แล้ว ไฟเลี้ยวไม่จำเป็นต้องใช้ทุกครั้งที่เปลี่ยนเลนส์ ตราบใดที่คุณยังอยู่บนถนนสาธารณะ ไฟเลี้ยวต้องจำเป็นเสมอ
“ก่อนจะเทพ ก็ต้องผ่านการเรียนรู้มาก่อนทั้งนั้น”
ข้อสังเกตทั้งหลายที่นำมาให้อ่านกันเป็นเพียงแค่บางส่วนเท่านั้น ซึ่งหากเพื่อนๆคนไหนยังมีพฤติกรรมที่เข้าข่ายอยู่ อย่าอายที่จะถามคนที่มีประสบการณ์ หรือ เข้าอบรมเรียนรู้เพิ่มเติม เพื่อเป็นการปรับตัวหรือสร้างความเข้าใจให้มากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ไม่ใช่เพื่อใคร แต่เพื่อความปลอดภัยของตัวคุณเอง ลองดูครับ ไม่มีใครเก่งมาตั้งแต่เกิด
หากใครที่ยังมีพฤติกรรมเข้าข่าย หรือยังมีความคิดพวกนี้เกี่ยวกับการขับขี่มอเตอร์ไซค์อยู่ละก็ แนะนำให้ไปลงเรียนขับขี่มอเตอร์ไซค์เพิ่มเติม หรือปรับตัวเพื่อขับขี่มอเตอร์ไซค์ให้ถูกต้อง เพื่อความปลอดภัย และเพื่อตัวของท่านเองนะครับผม ขอบคุณภาพประกอบ : kawasaki.co.th , motogp.com , f.ptcdn.info
9 ข้อปราบเซียน ชี้ชัดว่าคุณยังขับมอไซค์ “ไม่เซียน”
เครดิต
http://www.bikersthailand.com/?p=64
มีความเข้าใจว่า...เราเลี้ยวรถด้วยมือที่แฮนด์ (Counter Steer) เพียงอย่างเดียว
ซึ่งอันที่จริงแล้ว...... สายตา....... เป็นสิ่งสำคัญในการบังคับร่างกายให้ปรับองศาแฮนด์ หัวไหล่ และ ลำตัวให้เลี้ยวตาม........จุดโฟกัสของสายตาอัตโนมัติ
แต่การใช้สายตาล๊อคเป้าหมายต้องอยู่บนพื้นฐานความปลอดภัยไม่ควรล๊อคเป้าหมายระยะไกล
โดยที่ไม่สนใจสิ่งกีดขวางด้านหน้า หรือเมื่อสติสัมปชัญญะไม่สมบูรณ์ เพราะอาจทำให้เกิดอันตรายหรือ กะระยะ รวมถึงสิ่งต่างๆผิดพลาดได้
คิดว่าการปิดคันเร่ง คือ ความปลอดภัยเสมอ และการเปิดคันเร่ง ทำให้ในอยู่สภาวะอันตรายในทุกกรณี
กำคลัทช์ ปล่อยรถไหลเข้าโค้ง ทำให้เครื่องยนต์ไม่มีแรงฉุด หรือแรงเหวี่ยงหนีศูนย์จาก Engine brake มีความเป็นไปได้สูงที่จะแหกโค้ง หรือเกิดอุบัติเหตุอื่นๆ
ซัดมาเร็วเต็มที่ แต่ดันไปเบรก ตกแต่งความเร็วในโค้ง เป็นวิธีการที่ผิดเช่นกัน
เมื่อเราอยู่ในโค้งเราต้องมีความสมบูรณ์ครบถ้วนที่สุด หมายถึง ความเร็ว รอบเครื่องยนต์ ไลน์โค้ง
ซึ่งต้องได้รับการตกแต่งความเร็ว.......จนเหมาะสมมาแล้ว.....ก่อนเข้าโค้ง และเมื่ออยู่กลางโค้งจึงใช้การตึงของรอบเครื่องค่อยๆเร่งออก
โดยเฉพาะมือใหม่ ไม่จำเป็นต้องเข้าให้เร็วให้แรง แต่ควรลดความเร็วให้อยู่ในระดับที่........สามารถควบคุมได้ตั้งแต่ก่อนเข้าโค้ง
++++++......เบรค เปลี่ยนเกียร์ ถ้าไม่เทพ หรือมีทักษะดีจริง ต้องทำตอนรถตั้งตรง ก่อนเข้าโค้ง
+-+-+-+ มั่นใจในเบรกหรือ ABS มากเกินไป แต่ไม่รู้จักใช้ Engine Break และมักไม่กล้าลดเกียร์ลงเพื่อใช้ Engine break เครดิต : bikersthailand.com
http://www.youtube.com/watch?time_continue=203&v=LrbZJbXwgrYการขี่ ไม่สามารถเก่งได้ในวันเดียว แต่ละถนน แต่ละโค้ง ต้องเรีบนพื้นฐานการขับขี่ ทฤษฎีและฝึกบ่อยๆ
ท่าทางในการขับขี่ ที่เหมาะสมแต่ละโค้ง ทักษะการขับขี่และประสบการณ์แล้ว สภาพถนน สิ่งแวดล้อม ที่เป็นตัวแปร มีทั้งฝุ่นทราย ใบไม้ ผู้ใช้ถนน ร่วมทางไม่ดี อันตราย..ต่อการขับขี่ และความเร็วที่เหมาะสมในการควบคุมรถได้ จึงจะสามารถเข้าโค้งได้อย่างราบรื่นสม่ำเสมอ ถ้าใช้ความเร็วสูงเกินไปเพราะถึงแม้ว่าจะมีความชำนาญมากแต่ ก็จะทำให้เกิดอันตรายได้ง่าย
เข้าให้ช้า ออกให้ไว จะปลอดภัยกว่า***
สำคัญมาก การแบนโค้ง มากน้อยแค่ไหน ท่าทางการควบคุมรถ การขับขี่เวลาเข้าโค้ง ด้วยความเร็วต่างๆกัน มีผลมาก เป็น Basic ที่ไม่ควรลืม ***
อุบัติเหตุส่วนใหญ่ของมอเตอร์ไซค์ ก็มาจากการเข้าโค้งที่ไม่ถูกต้องเทคนิค การแบนโค้ง ท่าทางการขี่เข้าโค้ง การ อุบัติเหตุส่วนใหญ่ของมอเตอร์ไซค์ ก็มาจากการเข้าโค้งที่ไม่ถูกต้อง
*** การรับรู้และสัมผัสแรงเหวี่ยงหนีศูนย์ของรถ ในโค้ง ปรับท่าทางให้เหมาะสมและพอดี
"การเข้าโค้ง เข้าให้ช้า .... ออกให้ไว " จะช่วยในการเข้าโค้งได้....ปลอดภัย....และง่ายขึ้น ***
http://www.youtube.com/watch?v=MeP_cxN9IQwhttp://www.youtube.com/watch?v=uZEX12ZIM1whttp://www.youtube.com/watch?v=LrbZJbXwgrYhttp://www.youtube.com/watch?v=KVWLIfChUwgในการเข้าโค้ง ซึ่งสำคัญมาก ต่อเนื่องจากการเข้าโค้งอย่างปลอดภัย ที่มีหลักสำคัญอยู่ 3 ประการคือ ความเร็ว , การเตรียมตัวก่อนเข้าโค้ง (เบาเครื่อง , เบรก , เปลี่ยนเกียร์ และการใช้สายตามองตามโค้งคาดคะเนระยะทางการใช้ความเร็ว ท่าทางในโค้ง และการตัดสินใจ ซึ่งสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันโดยตลอด ควรลดความเร็วให้อยู่ในระดับที่สามารถควบคุมได้ตั้งแต่ก่อนเข้าโค้ง เบรค เปลี่ยนเกียร์ ถ้าไม่เทพ หรือมีทักษะดีจริง ต้องทำตอนรถตั้งตรง เตรียมตัวก่อนเข้าโค้ง และที่สำคัญมากๆที่อย่าลืมคือข้อห้าม ในโค้ง อย่าใช้เบรค หรือบีบคลัทช์ )http://www.youtube.com/watch?v=EFm3honeTQo&ebc=ANyPxKr2xr6G2tCl8gVTANk9nbcwJ_m2CO9e8k6EdNpgofw13aBvD4rbJntI2x5iplSItqI6SIwI1XxcM-vFEVradjzsfUm2vghttp://www.youtube.com/watch?v=C848R9xWrjchttp://www.youtube.com/watch?v=5ZwyOCdUup8 เรียนรู้และฝึกฝน ทักษะที่ถูกต้อง ประสบการณ์ หาเพิ่มเติม ไม่ใช่่เพื่อไคร แต่เพื่อ...ตัวคุณเอง เพื่อคนที่คุณรัก คนใกล้ชิด
จะได้ไม่เกิดการสญเสีย.....ก่อนเวลาอันควร โอกาสสูญเสีย....ทั้งหน้าที่การงาน ชีวิตครอบครัว ไหนๆก็มาเป็น....ชาวสองล้อ
ยิ่งกับ Bigbike ความรุนแรง.....มี.........สูงมาก
ทักษะการขับขี่ ข้อควรรู้ ยิ่งช่วยกันแชร์ ยิ่งดี ยิ่งมีประโยชน์ http://www.youtube.com/watch?v=J73XRDGPcpE/// 9 ข้อปราบเซียน ชี้ชัดว่าคุณยังขับมอไซค์ “ไม่เซียน” ///
http://www.z800thailand.com/forum/index.php/topic,5799.0.html